เมื่อพูดถึงจุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลคติกหรือกรดน้ำนม ก็จะพูดถึง Lactobacillus ที่มักพบมากในนมเปรี้ยว สามารถย่อยน้ำตาลให้กลายเป็นกรดแลคติกโดยไม่ใช้ออกซิเจนหรืออากาศ ซึ่งน้ำหมักชนิดนี้สามารถนำไปรดเพื่อบำรุงพืชและช่วยทางเดินอาหารของสัตว์ระบายได้ดีขึ้น
เมื่อพูดถึงจุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลคติกหรือกรดน้ำนม ก็จะพูดถึง Lactobacillus ที่มักพบมากในนมเปรี้ยว สามารถย่อยน้ำตาลให้กลายเป็นกรดแลคติกโดยไม่ใช้ออกซิเจนหรืออากาศ ซึ่งน้ำหมักชนิดนี้สามารถนำไปรดเพื่อบำรุงพืชและช่วยทางเดินอาหารของสัตว์ระบายได้ดีขึ้น
จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อสถาปัตยกรรมช่วยให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากพอที่จะเลี้ยงและเพิ่มพลังให้กับตัวเอง และสร้างงานที่สอดคล้องกันสำหรับส่วนที่อ่อนแอที่สุดและเปราะบางที่สุด หนึ่งในผู้เข้ารอบสุดท้ายด้านสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นสำหรับรางวัล EU Mies Award 2022 คือ The Railway Farm (La Ferme du Rail) ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้รับการคิดที่จะทำตามความคิดดังกล่าว โดยกลุ่มสถาปนิก Grand Huit และนักภูมิทัศน์ Melanie Drevet Paysagiste เพื่อนบ้านที่รอบรู้ในด้านเกษตรในเมือง ที่ดินที่รกร้างว่างเปล่าได้รับการฟื้นฟูด้วยการผสมผสานระหว่างการผลิตทางการเกษตร วัฒนธรรมอาหาร การทำสวนผัก หอพักนักศึกษา…
ระยะที่ผ่านมาหลายคนคงผ่านตาการเกิดขึ้นของป่ากลางเมืองในแบบต่างๆ หนึ่งในนั้นคือการเกิดขึ้นของสวนเบญจกิติ พื้นที่สีเขียวขนาด 300 ไร่กลางกรุงเทพมหานครฯ ที่ความน่าสนใจไม่ใช่เพียงการเป็นสวนแห่งใหม่สำหรับทำกิจกรรมของคนเมือง ทว่าอยู่ตรงแนวคิดเบื้องหลังของสวนแห่งนี้ที่ต้องการฟื้นคืนวงจรธรรมชาติของเมืองให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง นั่นคือแนวคิด Rewilding หรือการฟื้นคืนธรรมชาติท้องถิ่นให้กลับมารุ่มรวยสมบูรณ์ ผ่านการกลับมาทำความเข้าใจและเชื่อมโยงกับพืชและสัตว์ของแต่ละภูมินิเวศ เพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน มากกว่าการใช้ชีวิตอย่างบ่อนทำลาย
ใครจะนึกว่ามุมเล็กๆ ของโรงแรมและโรงพยาบาลใจกลางกรุงเทพฯ จะเป็นที่อยู่ของพืชผักที่กลายมาเป็นอาหารหล่อเลี้ยงสมาชิกองค์กรในหลายๆ มื้อ มากกว่านั้นยังทำหน้าที่เป็นมุมสีเขียวไว้พักสายตาสำหรับใครต่อใครที่เดินผ่านไปมาได้ด้วย โรงพยาบาลและโรงแรมทั้ง 2 แห่งคือ ‘โรงพยาบาลบางโพ’ และ ‘โรงแรมศิวาเทล กรุงเทพฯ’ ที่เราอยากพาเดินเท้าเข้าแปลงไปชมความเปลี่ยนแปลงเล็กๆ ที่ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับเราไม่น้อยในวันนี้
ความมุ่งหวังดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างครบวงจร เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงทั้งทางร่างกายและจิตใจน่าจะเป็นความฝัน ผ่านการเข้าถึงอาหารปลอดภัย และการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ อาหารที่มีคุณค่าตามโภชนาการ น่าจะเป็นต้นทางสำคัญ ซึ่งในปี 2562 เป็นต้นมา กระทรวงสาธารณสุขได้สนับสนุนให้โรงพยาบาลในสังกัดเป็นโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย 100% ด้วยการคัดสรรวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย ปรุงอาหารให้ผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่ ผ่านการส่งเสริมเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ เปิดตลาดสีเขียวขายผักปลอดภัย โดยให้มีการคัดสรรวัตถุดิบที่ปลอดภัยมาปรุงอาหาร มีร้านจำหน่ายอาหารปลอดภัย และปรับแก้กฎระเบียบให้สามารถซื้อพืชผักปลอดสารในราคาที่สูงกว่าเดิม สนับสนุนกลุ่มเกษตรกรทำเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์ เพิ่มรายได้เกษตรกร และเปิดตลาดสีเขียวขายผักปลอดภัย และในปีนี้โครงการสวนผักคนเมือง ภายใต้การสนับสนุนของสำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส. ได้ร่วมขับเคลื่อนการสร้างพื้นที่สีเขียว(กินได้) ให้เป็นแหล่งผลิตอาหาร เชื่อมโยงสู่ครัว…
การรดน้ำผัก ดูเผินๆ แล้วอาจจะไม่สลักสำคัญอะไรมาก แต่มันก็มีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่นักปลูกจะละเลยไม่ได้ ไม่อย่างงันเราก็อาจจประสบปัญหาผักเหี่ยวเฉาบ่อย รดน้ำตามเวลาที่วางไว้แล้วผักก็ยังแคระแกรน รดน้ำแล้วใบผักเสียหาย เป็นต้น
เมื่อพูดถึงจุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลคติกหรือกรดน้ำนม ก็จะพูดถึง Lactobacillus ที่มักพบมากในนมเปรี้ยว สามารถย่อยน้ำตาลให้กลายเป็นกรดแลคติกโดยไม่ใช้ออกซิเจนหรืออากาศ ซึ่งน้ำหมักชนิดนี้สามารถนำไปรดเพื่อบำรุงพืชและช่วยทางเดินอาหารของสัตว์ระบายได้ดีขึ้น
พรุ่งนี้ก็เข้าสู่วันที่ 1 เมษา กันแล้ว เป็นเดือนที่มีอากาศร้อนเป็นพิเศษ มีผักไม่กี่ชนิดที่สามารถให้ผลผลิตได้ดีในฤดูนี้ ซึ่งทางสวนผักเองจะมาแนะนำผัก 5 ชนิด มาให้ชาวสวนผักได้ปลูกกัน ได้แก่ กระเพรา ผักบุ้ง มะเขือเปราะ ฟักเขียว และ บวบ ชอบทำอาหารเมนูใด ก็ปลูกผักชนิดนั้นเลยค่ะ
สำหรับหลายคน อาหารไม่ใช่เพียงปัจจัยยังชีพทว่ากินความหมายลึกซึ้งกว่านั้นหลายระดับ เหมือนอย่าง พลอย-กษมา แย้มตรี สถาปนิกผู้ร่วมก่อตั้งสตูดิโอ openspace ซึ่งทำงานในประเด็นการออกแบบเพื่อพัฒนาชุมชนมานานนับสิบปี โดยอีกมุมพลอยยังมีความสนใจเรื่องอาหารชนิดลงลึก ทั้งเรื่องการกินอย่างรู้ที่มาเพื่อเยียวยาเกษตรกรไทย และการทำอาหารและการกินเพื่อเยียวยาหัวใจของตัวเธอเอง.
ช่วงกรุงเทพฯ Lockdown เป็นช่วงที่เราภูมิใจที่สุดที่เราปลูกผักกินเอง คิดถูกที่ดำเนินชีวิตแบบนี้ ชอบและรักที่จะทำแบบนี้ สถานการณ์นี้ไม่มีใครคาดคิด ไม่คิดว่าจะต้องออกไปซื้อข้าวของตุนเสบียงอาหารของแห้งต่างๆ พอมานั่งดูทุกอย่างตุนได้หมดยกเว้นผัก ไม่มีใครซื้อผักสดตุนไว้ได้นานๆ ไม่นับรวมแปรรูปแช่แข็ง บทเรียนครั้งนี้สอนให้เรารู้ว่าที่เราปลูกเราทำอาจจะเล็กๆน้อยๆ แต่พอถึงเวลาจำเป็นเช่นนี้ เรากลับอยู่ได้อย่างสบาย มีสติ กินของที่เราปลูกได้แบบไม่ต้องกังวลว่าเราจะไปซื้อที่ไหน จะเก็บยังไงให้ได้นานที่สุด เพราะเมื่อไหร่ที่จะกินก็เดินไปตัดไปเก็บมาทำ วันนี้นกเลยอยากจะนำเสนอเมนูสามัญประจำบ้านเราที่เหมาะเหลือเกินกับสถานการณ์ในช่วงนี้ค่ะ เป็นเมนูที่ทำบ่อยมากๆ นั่นก็คือ “ผัดถั่วงอกหมูสันใน ” ที่บอกว่าทำบ่อยเนื่องจากนาน่าลูกสาวนกชอบกินถั่วเขียวต้มน้ำตาลมากกกกกกค่ะ ในครัวเลยจะต้องมีถั่วเขียวติดไว้ตลอด ทุกครั้งที่แช่ถั่วเขียวนกก็จะแช่ครึ่งหนึ่งทำถั่วเขียวต้มน้ำตาล ส่วนอีกครึ่งหนึ่งจะแช่เพื่อเพาะถั่วงอก ทีนี้พอเพาะถั่วงอกบ่อยเลยกลายเป็นต้องเพาะต้นกุ่ยช่ายคู่กันไปด้วยค่ะ 🙂 มาดูวัตถุดิบที่เราทำเองได้แถมไม่ต้องกังวลกับการประกาศ Lockdown…
ช่วงนี้ใบโหระพาบนดาดฟ้างามแต้ๆเลยค่ะ แต่จะปล่อยให้ยืดกิ่งก้านยาวติดดอกแบบนี้นานๆ ไม่ดีแน่ เพราะผักสวนครัวถ้าปล่อยให้ติดดอก ไม่นานเค้าก็จะเหี่ยวแห้งเฉาไปเอง จึงควรหมั่นตัดแต่งให้เค้าแตกใหม่อยู่เรื่อยๆ เราก็จะมีผักทานไปได้นานทีเดียวค่ะ พอได้ตัดกิ่งตัดก้านได้ทรงสวยเลยได้โหระพามากำใหญ่จะตัดแต่งทิ้งก็ไม่ได้สิคะเสียดายยยยย >< หาเรื่องแบ่งมาทำเมนูอร่อยๆ นึกได้เรามีฟักทองจากตลาดสันติอโศกมาลูกย่อมๆ คนที่ออกกำลังหรือคุมน้ำหนักอยู่ควรมีฟักทองติดครัวตลอดนะคะ เพราะนอกจากจะเป็นมิตรกับพุงแล้ว ยังเป็นคาร์โบไฮเดรตที่เหมาะกับคนที่กำลังคุมน้ำหนัก เพราะมีกากใยสูง แถมแคลอรี่ต่ำมากอีกด้วยค่ะ ช้าอยู่ใยรีบลงเข้าครัวทำเมนู “ฟักทองผัดไข่ใบโหระพา” กันดีกว่า มาลงมือทำพร้อมกันนะคะ วัตถุดิบฟักทอง (ตลาดสันติอโศก)โหระพา (ปลูกเอง)กระเทียม (บ้านสวนฮักดีมีสุข )ไข่ไก่ (เลมอนฟาร์ม)เครื่องปรุงน้ำมันรำข้าวน้ำตาลทรายไม่ฟอกสีน้ำปลา วิธีทำ ตั้งกระทะใส่น้ำมัน ใส่กระเทียมสับ ผัดพอหอม…
คุณ Francey Slater ผู้ร่วมก่อตั้ง Mill City Grows หนึ่งในองค์กรเกษตรเมือง Lowell กล่าวว่า “เมื่อเราเริ่มทำเกษตรในเมืองแห่งแรกในปี 2013 คนคิดว่าเราบ้าไปแล้ว” เธอกล่าว “ที่ดินตรงหัวมุมเล็กๆ นั้นทั้งรกและเต็มไปด้วยขยะ” อาสาสมัครจำนวนมากรวมถึงเจ้าของที่ดินได้ร่วมกันย้ายดินและกำจัดขยะและวัชพืชเพื่อทำให้เกิดสวนผักแห่งนี้ขึ้น Francey เล่าต่อไปว่า “เมื่อสวนผักออกมาเป็นรูปเป็นร่างจึงเริ่มได้รับความสนใจมากมาย ผู้คนจากหน่วยต่างๆ เข้ามาช่วยเหลือและเรียนรู้เพิ่มเติมในที่ดินผืนนี้ พูดได้ว่าสวนผักแห่งนี้ได้กลายเป็นศูนย์กลางของชุมชนที่ก่อตัวขึ้นอย่างช้าๆ” พลังของเกษตรในเมืองใหญ่ กับการเปลี่ยนแปลงชุมชน was last modified: March 14th,…
สวนผักทำงานอย่างไร? โดยทั่วไปแล้ว สวนผักชุมชนต้องการกลุ่มแกนกลางที่มีอาสาสมัคร 8-10 คน สำหรับดูแลแปลงผักเป็นประจำ จากนั้นสมาชิกคนอื่นๆ สามารถเข้าและออกได้ตามเวลาที่อนุญาต มีพนักงานประจำสวนที่มีประสบการณ์อยู่เสมอ เพื่อให้เราสามารถรองรับผู้คนได้ทุกระดับ สมาชิกสามารถเข้าร่วมการทำสวนผักได้ทุกเมื่อที่เหมาะสม. ชวนมาทำความรู้จัก Santry Community Garden สวนผักชุมชนเมือง Dublin ที่ได้รางวัล Top 10 Green Flag Community Award was last modified: March 14th, 2022…
ชุมชนขนาด 800 หลังคาเรือนของหมู่บ้านสินสมบูรณ์ กลางย่านพุทธมนฑลสาย 4 แห่งนี้ดูเผินๆ อาจไม่ต่างจากชุมชนเมืองทั่วไป แต่ถ้าก้าวเข้ามามองในรายละเอียดจะพบการขับเคลื่อนเรื่องพื้นที่สร้างอาหารที่น่าสนใจทั้งมิติของการเยียวยาปากท้องและการเยียวยาความสัมพันธ์ในชุมชนให้แน่นแฟ้น
แม้ว่าเมืองดีทรอยต์จะมีชื่อเสียงในฐานะพื้นที่เกษตรในเมืองขนาดมหึมา แต่ผลการวิเคราะห์ที่นำโดยมหาวิทยาลัยมิชิแกนแห่งย่านโลเวอร์อีสต์ไซด์ของเมือง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 15 ตารางไมล์ พบว่าสวนผักชุมชนและสวนผักครัวเรือนกลับใช้พื้นที่น้อยกว่า 1% ของพื้นที่ว่าง